ข่าวสารการลงทุน

แต่งตั้งกรรมการแทนกรรมการที่ครบกำหนดออกตามวาระ ประจำปี 2568 (ให้กลับมาดำรงตำแหน่งอีกวาระหนึ่ง)
23 เม.ย. 2568
หลักทรัพย์ PCE
แหล่งข่าว PCE
เปลี่ยนแปลงกรรมการ/ผู้บริหาร               			

ดำรงตำแหน่งอีกวาระหนึ่ง
วันที่คณะกรรมการมีมติเปลี่ยนแปลงกรรมการ/ผู้บริหาร 			 : 22 เม.ย. 2568
ชื่อกรรมการ                             			 : นาย จักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล

ตำแหน่งกรรมการในบริษัท (1)              			 : รองประธานกรรมการบริษัท
วันที่เริ่มต้นตำแหน่ง (1)                   			 : 09 ธ.ค. 2565

ตำแหน่งกรรมการในบริษัท (2)              			 : กรรมการอิสระ
วันที่เริ่มต้นตำแหน่ง (2)                   			 : 09 ธ.ค. 2565

ตำแหน่งกรรมการในบริษัท (3)              			 : ประธานกรรมการตรวจสอบ
วันที่เริ่มต้นตำแหน่ง (3)                   			 : 09 ธ.ค. 2565

______________________________________________________________________
เปลี่ยนแปลงกรรมการ/ผู้บริหาร               			

ดำรงตำแหน่งอีกวาระหนึ่ง
ชื่อกรรมการ                             			 : นาย กิตติภณ ประสิทธิ์ศุภผล

ตำแหน่งกรรมการในบริษัท (1)              			 : กรรมการ
วันที่เริ่มต้นตำแหน่ง (1)                   			 : 20 พ.ย. 2556

ตำแหน่งกรรมการในบริษัท (2)              			 : กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน / กรรมการบริหาร

______________________________________________________________________
เปลี่ยนแปลงกรรมการ/ผู้บริหาร               			

ดำรงตำแหน่งอีกวาระหนึ่ง
ชื่อกรรมการ                             			 : นาย เอกรินทร์ เหลืองวิริยะ

ตำแหน่งกรรมการในบริษัท (1)              			 : กรรมการอิสระ
วันที่เริ่มต้นตำแหน่ง (1)                   			 : 09 ธ.ค. 2565

ตำแหน่งกรรมการในบริษัท (2)              			 : กรรมการตรวจสอบ
วันที่เริ่มต้นตำแหน่ง (2)                   			 : 09 ธ.ค. 2565

ตำแหน่งกรรมการในบริษัท (3)              			 : 
กรรมการบริหารความเสี่ยง/ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน/กรรมการความยั่งยืนและกำกับกิจการที่ดี

______________________________________________________________________
แบบแจ้งรายชื่อและขอบเขตการดำเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ (F 24-1)

ขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ			
การกำหนด/เปลี่ยนแปลงขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ  :
หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ
1	สอบทานให้บริษัทมีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้อง ครบถ้วน เชื่อถือได้ และเปิดเผยข้อมูล อย่างเพียงพอ
โดยการประสานงานกับผู้ตรวจสอบบัญชีภายนอก และผู้บริหารที่รับผิดชอบ
จัดทำรายงานทางการเงินตามกรอบระยะเวลาที่กฎหมาย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
และหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องกำหนด
2	สอบทานให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายใน (Internal control) และระบบการตรวจสอบภายใน (Internal audit) 
รวมทั้งการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล
ตามกรอบการควบคุมภายในที่ได้รับการยอมรับเป็นมาตรฐานสากลและพิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน
ตลอดจนให้ความเห็นชอบในการพิจารณา แต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้างหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน
หรือหน่วยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน
3	สอบทานให้บริษัทปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 
ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ประกาศของสำนักงาน ก.ล.ต.
และประกาศของคณะกรรมการกำกับตลาดทุนรวมทั้งกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท และบริษัทย่อย
4	พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป็นอิสระเพื่อทำหน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัท 
และพิจารณาเสนอค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทั้งเข้าประชุมกับผู้สอบบัญชี
โดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
5	พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมาย 
ประกาศของคณะกรรมการกำกับตลาดทุน และข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทั้งนี้
เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัท และบริษัทย่อย
6	พิจารณาการเปิดเผยข้อมูลของบริษัท 
ในกรณีที่เกิดรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้มีความถูกต้องและครบถ้
วน
7	สอบทานให้บริษัท และบริษัทย่อยมีระบบบริหารความเสี่ยง (Risk Management) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล 
เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท
8	สอบทานและอนุมัติกฎบัตรของหน่วยงานตรวจสอบภายใน (ถ้ามี) แผนงานตรวจสอบภายในประจำปี 
การปฏิบัติงานของหน่วยงานตรวจสอบภายใน และประสานงานกับผู้สอบบัญชี
9	จัดทำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจำปีของบริษัท 
ซึ่งรายงานดังกล่าวต้องลงนามโดยประธานกรรมการตรวจสอบและต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้
(1)	ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้องครบถ้วนเป็นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษัท บริษัทย่อย
(2)	ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริษัทและบริษัทย่อย
(3)	ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ 
หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท และบริษัทย่อย
(4)	ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี
(5)	ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์
(6)	ความเห็นเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงของบริษัท และบริษัทย่อย
(7)	จำนวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน
(8)	ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร (Charter)
(9)	รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้ร
ับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท
(10)	รายการที่เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์
(11)	การทุจริตหรือมีสิ่งผิดปกติหรือมีความบกพร่องที่สำคัญในระบบควบคุมภายใน
-	การฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประกาศของคณะกรรมการกำกับตลาดทุน 
ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท และบริษัทย่อย
-	หากคณะกรรมการของบริษัท หรือผู้บริหารไม่ดำเนินการให้มีการปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาที่กำหนด 
กรรมการตรวจสอบรายใดรายหนึ่งอาจรายงานว่ามีรายการหรือการกระทำตามวรรคหนึ่งต่อสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลั
กทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์หรือตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
10	ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงตามที่ได้รับแจ้งจากผู้สอบบัญชีเกี่ยวกับพฤติการณ์อันควรสงสัยว่ากรรมการ 
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร หรือ บุคคล ซึ่งรับผิดชอบในการดำเนินงานของบริษัท หรือบริษัทย่อย
ได้กระทำความผิดตามที่กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์กำหนด
และให้คณะกรรมการตรวจสอบรายงานผลการตรวจสอบในเบื้องต้นให้แก่สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหล
ักทรัพย์ และผู้สอบบัญชีทราบภายใน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งจากผู้สอบบัญชี
11	รายงานผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบให้คณะกรรมการบริษัททราบอย่างน้อยปีละ 4 ครั้ง 
โดยในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ หากพบหรือมีข้อสงสัยว่ามีรายการหรือการกระทำดังต่อไปนี้
ซึ่งอาจมีผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่อฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของบริษัท
ให้คณะกรรมการตรวจสอบรายงานต่อคณะกรรมการของบริษัทเพื่อดำเนินการปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาที่คณะกรรมการตรว
จสอบเห็นสมควร
12	ในการปฏิบัติงานตามขอบเขตอำนาจหน้าที่ ให้คณะกรรมการตรวจสอบมีอำนาจเชิญกรรมการ ผู้บริหาร 
หัวหน้าหน่วยงาน หรือพนักงานของบริษัท และบริษัทย่อย มาให้ความเห็น เข้าร่วมประชุม
หรือส่งเอกสารตามที่เห็นว่าเกี่ยวข้องจำเป็น
13	พิจารณาให้ความเห็นชอบในการว่าจ้างที่ปรึกษาหรือบุคคลภายนอกตามระเบียบของบริษัท และบริษัทย่อย 
มาให้ความเห็น หรือคำปรึกษาในกรณีจำเป็น
14	สอบทานให้บริษัท และบริษัทย่อย ปฏิบัติตามนโยบายการให้ข้อมูลการกระทำผิดและการทุจริต 
การสอบสวนและการคุ้มครองผู้ให้ข้อมูลและรับทราบข้อร้องเรียนรวมถึงผลการสอบสวนของคณะกรรมการสอบสวน
15	พิจารณาทบทวนขอบเขตและประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบเป็นประจำทุกปี
โดยการกำหนด/เปลี่ยนแปลง ขอบเขต หน้าที่     			 : 22 เม.ย. 2568
ความรับผิดชอบดังกล่าวให้มีผล ณ วันที่

รายชื่อคณะกรรมการตรวจสอบ มีดังนี้          			
ลำดับ                                 			 : 1
ตำแหน่งคณะกรรมการตรวจสอบ               			 : ประธานกรรมการตรวจสอบ
ชื่อ-นามสกุล                             			 : นายจักรกฤศฏิ์  พาราพันธกุล
วาระการดำรงตำแหน่งคงเหลือ (ปี)           			 : 3 ปี

ลำดับ                                 			 : 2
ตำแหน่งคณะกรรมการตรวจสอบ               			 : กรรมการตรวจสอบ
ชื่อ-นามสกุล                             			 : นายชนิตร  ชาญชัยณรงค์
วาระการดำรงตำแหน่งคงเหลือ (ปี)           			 : 1 ปี

ลำดับ                                 			 : 3
ตำแหน่งคณะกรรมการตรวจสอบ               			 : กรรมการตรวจสอบ
ชื่อ-นามสกุล                             			 : นายธานินทร์  ตันประวัติ
วาระการดำรงตำแหน่งคงเหลือ (ปี)           			 : 1 ปี

ลำดับ                                 			 : 4
ตำแหน่งคณะกรรมการตรวจสอบ               			 : กรรมการตรวจสอบ
ชื่อ-นามสกุล                             			 : นายเอกรินทร์  เหลืองวิริยะ
วาระการดำรงตำแหน่งคงเหลือ (ปี)           			 : 3 ปี

ลำดับ                                 			 : 5
ตำแหน่งคณะกรรมการตรวจสอบ               			 : เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ
ชื่อ-นามสกุล                             			 : นายกีรติ  ไชยะกุล
วาระการดำรงตำแหน่งคงเหลือ (ปี)           			 :

จำนวนหนังสือรับรองประวัติกรรมการที่แนบมาด้วย 			 : 2
(ท่าน)
ลำดับที่ กรรมการตรวจสอบที่มีความรู้และประสบการณ์ เพียงพอที่จะสามารถทำหน้าที่ในการสอบทานความ 
น่าเชื่อถือของงบการเงิน  :
ลำดับที่ 1-4

คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทมีขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริษัท ดังต่อไปนี้  :
คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท เพชรศรีวิชัย เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด (มหาชน) ("บริษัท") 
เป็นคณะกรรมการชุดย่อยของคณะกรรมการบริษัท ปฏิบัติหน้าที่ตามที่คณะกรรมการบริษัทได้มอบหมาย
โดยทำหน้าที่อย่างอิสระ เป็นไปตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีและได้มาตรฐานสากล
เพื่อให้มั่นใจว่าการบริหารกิจการดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่กำหนดไว้ คณะกรรมการบริษัทจึงได้กำหนดกฎบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบ ดังนี้
หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ
1	สอบทานให้บริษัทมีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้อง ครบถ้วน เชื่อถือได้ และเปิดเผยข้อมูล อย่างเพียงพอ
โดยการประสานงานกับผู้ตรวจสอบบัญชีภายนอก และผู้บริหารที่รับผิดชอบ
จัดทำรายงานทางการเงินตามกรอบระยะเวลาที่กฎหมาย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
และหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องกำหนด
2	สอบทานให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายใน (Internal control) และระบบการตรวจสอบภายใน (Internal audit) 
รวมทั้งการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล
ตามกรอบการควบคุมภายในที่ได้รับการยอมรับเป็นมาตรฐานสากลและพิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน
ตลอดจนให้ความเห็นชอบในการพิจารณา แต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้างหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน
หรือหน่วยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน
3	สอบทานให้บริษัทปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 
ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ประกาศของสำนักงาน ก.ล.ต.
และประกาศของคณะกรรมการกำกับตลาดทุนรวมทั้งกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท และบริษัทย่อย
4	พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป็นอิสระเพื่อทำหน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัท 
และพิจารณาเสนอค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทั้งเข้าประชุมกับผู้สอบบัญชี
โดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
5	พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมาย 
ประกาศของคณะกรรมการกำกับตลาดทุน และข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทั้งนี้
เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัท และบริษัทย่อย
6	พิจารณาการเปิดเผยข้อมูลของบริษัท 
ในกรณีที่เกิดรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้มีความถูกต้องและครบถ้
วน
7	สอบทานให้บริษัท และบริษัทย่อยมีระบบบริหารความเสี่ยง (Risk Management) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล 
เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท
8	สอบทานและอนุมัติกฎบัตรของหน่วยงานตรวจสอบภายใน (ถ้ามี) แผนงานตรวจสอบภายในประจำปี 
การปฏิบัติงานของหน่วยงานตรวจสอบภายใน และประสานงานกับผู้สอบบัญชี
9	จัดทำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจำปีของบริษัท 
ซึ่งรายงานดังกล่าวต้องลงนามโดยประธานกรรมการตรวจสอบและต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้
(1)	ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้องครบถ้วนเป็นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษัท บริษัทย่อย
(2)	ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริษัทและบริษัทย่อย
(3)	ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ 
หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท และบริษัทย่อย
(4)	ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี
(5)	ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์
(6)	ความเห็นเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงของบริษัท และบริษัทย่อย
(7)	จำนวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน
(8)	ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร (Charter)
(9)	รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้ร
ับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท
(10)	รายการที่เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์
(11)	การทุจริตหรือมีสิ่งผิดปกติหรือมีความบกพร่องที่สำคัญในระบบควบคุมภายใน
-	การฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประกาศของคณะกรรมการกำกับตลาดทุน 
ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท และบริษัทย่อย
-	หากคณะกรรมการของบริษัท หรือผู้บริหารไม่ดำเนินการให้มีการปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาที่กำหนด 
กรรมการตรวจสอบรายใดรายหนึ่งอาจรายงานว่ามีรายการหรือการกระทำตามวรรคหนึ่งต่อสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลั
กทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์หรือตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
10	ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงตามที่ได้รับแจ้งจากผู้สอบบัญชีเกี่ยวกับพฤติการณ์อันควรสงสัยว่ากรรมการ 
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร หรือ บุคคล ซึ่งรับผิดชอบในการดำเนินงานของบริษัท หรือบริษัทย่อย
ได้กระทำความผิดตามที่กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์กำหนด
และให้คณะกรรมการตรวจสอบรายงานผลการตรวจสอบในเบื้องต้นให้แก่สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหล
ักทรัพย์ และผู้สอบบัญชีทราบภายใน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งจากผู้สอบบัญชี
11	รายงานผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบให้คณะกรรมการบริษัททราบอย่างน้อยปีละ 4 ครั้ง 
โดยในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ หากพบหรือมีข้อสงสัยว่ามีรายการหรือการกระทำดังต่อไปนี้
ซึ่งอาจมีผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่อฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของบริษัท
ให้คณะกรรมการตรวจสอบรายงานต่อคณะกรรมการของบริษัทเพื่อดำเนินการปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาที่คณะกรรมการตรว
จสอบเห็นสมควร
12	ในการปฏิบัติงานตามขอบเขตอำนาจหน้าที่ ให้คณะกรรมการตรวจสอบมีอำนาจเชิญกรรมการ ผู้บริหาร 
หัวหน้าหน่วยงาน หรือพนักงานของบริษัท และบริษัทย่อย มาให้ความเห็น เข้าร่วมประชุม
หรือส่งเอกสารตามที่เห็นว่าเกี่ยวข้องจำเป็น
13	พิจารณาให้ความเห็นชอบในการว่าจ้างที่ปรึกษาหรือบุคคลภายนอกตามระเบียบของบริษัท และบริษัทย่อย 
มาให้ความเห็น หรือคำปรึกษาในกรณีจำเป็น
14	สอบทานให้บริษัท และบริษัทย่อย ปฏิบัติตามนโยบายการให้ข้อมูลการกระทำผิดและการทุจริต 
การสอบสวนและการคุ้มครองผู้ให้ข้อมูลและรับทราบข้อร้องเรียนรวมถึงผลการสอบสวนของคณะกรรมการสอบสวน
15	พิจารณาทบทวนขอบเขตและประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบเป็นประจำทุกปี
16	สอบทานความเป็นอิสระของผู้สอบบัญชี และพิจารณาการรับบริการอื่น 
ที่มิใช่การสอบบัญชีจากสำนักสอบบัญชีเดียวกัน
17	ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัท มอบหมายด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ
18	ในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ 
หากพบหรือมีข้อสงสัยว่ามีรายการหรือการกระทำซึ่งอาจมีผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่อฐานะทางการเงินและผลการดำ
เนินงานของบริษัท ให้รายงานสิ่งที่ตรวจพบในทันที เพื่อคณะกรรมการบริษัทจะได้หาแนวทางแก้ไขได้ทันเวลา
(1)	รายการความขัดแย้งทางผลประโยชน์
(2)	ข้อสงสัยหรือสันนิษฐานว่าอาจมีการทุจริต หรือมีสิ่งผิดปกติ 
หรือมีความบกพร่องสำคัญในระบบการควบคุมภายใน
(3)	ข้อสงสัยว่าอาจมีการฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ 
หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องของบริษัท
(4)	รายงานอื่นใดที่เห็นว่าคณะกรรมการบริษัท ควรทราบ
หากคณะกรรมการตรวจสอบได้รายงานต่อคณะกรรมการบริษัทถึงสิ่งที่มีผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่อฐานะการเงินและผ
ลการดำเนินงาน
และได้มีการหารือร่วมกันกับคณะกรรมการบริษัทและผู้บริหารแล้วว่าต้องดำเนินการปรับปรุงแก้ไข
เมื่อครบกำหนดเวลาที่กำหนดไว้ร่วมกัน
หากคณะกรรมการตรวจสอบพบว่ามีการเพิกเฉยต่อการดำเนินการแก้ไขดังกล่าวโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร
กรรมการตรวจสอบท่านใดท่านหนึ่งหรือคณะกรรมการตรวจสอบ
อาจรายงานสิ่งที่พบดังกล่าวต่อสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
หรือตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้
______________________________________________________________________

บริษัทขอรับรองว่าสารสนเทศที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องและครบถ้วนทุกประการ

                         ลงลายมือชื่อ _________________
                                     ( นายประกิต ประสิทธิ์ศุภผล )
                                       ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่
                              ผู้มีอำนาจรายงานสารสนเทศ

                         ลงลายมือชื่อ _________________
                                     ( นายพรพิพัฒน์ ประสิทธิ์ศุภผล )
                                       รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารสายงานปฎิบัติการ
                              ผู้มีอำนาจรายงานสารสนเทศ
______________________________________________________________________

สารสนเทศฉบับนี้จัดทำและเผยแพร่โดยบริษัทจดทะเบียนและบริษัทผู้ออกหลักทรัพย์ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ 
ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อการเผยแพร่ข้อมูลหรือเอกสารใดๆของบริษัทจดทะเบียนและบริษัทผู้ออกหลักทรัพย์
ต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเท่านั้น ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยไม่มีความรับผิดชอบใดๆ
ในความถูกต้องและครบถ้วนของเนื้อหา ตัวเลข รายงานหรือข้อคิดเห็นใดๆ ที่ปรากฎในสารสนเทศฉบับนี้
และไม่มีความรับผิดในความสูญเสียหรือเสียหายใดๆ ที่อาจเกิดขึ้นไม่ว่าในกรณีใด ในกรณีที่ท่านมีข้อสงสัย
หรือต้องการรายละเอียดเพิ่มเติม โปรดติดต่อบริษัทจดทะเบียนและบริษัทผู้ออกหลักทรัพย์ซึ่งได้จัดทำ
และเผยแพร่สารสนเทศฉบับนี้

หากท่านต้องการดูรายละเอียดสารสนเทศฉบับนี้แบบเต็ม โปรดคลิก "รายละเอียดแบบเต็ม"